ผู้นำแก้ไขปัญหาอากาศร้อน ระบบประหยัดพลังงานรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงงาน
09-6936-4628
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
บริการแก้ไขปัญหาอากาศร้อน ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาอากาศร้อนในโรงงานด้วยระบบอีแวป ระบายอากาศ ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริการแก้ไขปัญหาอากาศร้อน ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาอากาศร้อนในโรงงานด้วยระบบอีแวป ระบายอากาศ ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริการแก้ไขปัญหาอากาศร้อน ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาอากาศร้อนในโรงงานด้วยระบบอีแวป ระบายอากาศ ประหยัดพลังงาน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

โอโซนคืออะไร ?

โอโซน คือรูปหนึ่งของก๊าซออกซิเจนที่มีพลัง สามารถทำปฏิกิริยาออกซิเดชั่นกับสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ ได้เกือบทุกชนิดทั้งในน้ำและในอากาศ มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อที่รุนแรงและเร็วกว่าคลอรีนถึง 3,125 เท่า โอโซนจะเข้าไปจับโมเลกุลของสารปนเปื้อน และทำการแยกย่อยสลาย โดยจะทำการเปลี่ยนโครงสร้างของสารนั้น โอโซนเป็นก๊าซที่มีโครงสร้างไม่เสถียร หลังทำปฏิกิริยา โอโซนจะแปรสภาพกลับเป็นก๊าซออกซิเจน ไม่เป็นอันตราย หรือส่งผลกระทบใดๆ ต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม

ก๊าซโอโซนเกิดขึ้นได้อย่างไร?

1. โอโซนเกิดขึ้นเองธรรมชาติ

การเกิดก๊าซโอโซนในธรรมชาติ เกิดจากกระแสไฟฟ้าแรงสูงในอากาศ ซึ่งสาเหตุมาจากฟ้าร้องฟ้าผ่า และ รังสีUV เมื่อออกซิเจนในบรรยากาศ ได้รับรังสีอุลตราไวโอเลตทำให้โมเลกุลแตกเป็นอะตอมอิสระ O + O ซึ่งจะรวมตัวกับออกซิเจนตัวต่อไปเป็น ก๊าซโอโซน O3โอโซนเป็นก๊าซที่เกิดจากโมเลกุลออกซิเจน (O2) ในชั้นสตราโตสเฟียร์ซึ่งอยู่ห่างจากพื้นผิวโลกประมาณ10-60กม.โอโซนในชั้นดังกล่าวนี้ทำหน้าที่กั้นไม่ให้รังสอัลตราไวโเลต (Ultraviolet, UV) ส่องมายังโลกในปริมาณที่มากเกินไป

2. โอโซนเกิดขึ้นจากการสร้างขึ้น

ก๊าซ OZONE (O3) สามารถสามารถผลิตโดยใช้ หลักการของ Dielectric Discharge คือการสร้างสนามไฟฟ้าแรงสูงโดยจ่ายแรงดันไฟฟ้าสูงให้กับแผ่น Electrodes จะทำให้เกิดสนามไฟฟ้าขึ้น

ออกซิเจน (Oxygen gas : O2(g)) ให้ผ่านสนามไฟฟ้าแรงสูง ก๊าซออกซิเจน (Oxygen gas : O2(g)) ก็จะแตกพันธะออกเป็นอะตอมอิสระของออกซิเจน (O) แล้วอะตอมอิสระของออกซิเจน (O) ก็จะรวมตัวกันกับ O2 จะกลายเป็น OZONE (O3) ซึ่งมีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อ โดยเฉพาะเชื้อไวรัส ซึ่งคลอรีนไม่สามารถทำลายได้ ซึ่งคุณสมบัติของก๊าซโอโซนเมื่อไปทำปฏิกริยากับสารใดๆแล้ว จะสลายตัวกลับไปเป็นอ๊อกซิเจน (Oxygen gas : O2(g)) เหมือนเดิมจึงทำให้ไม่มีสารเคมีตกค้าง

คุณสมบัติของโอโซน

การประยุกต์ใช้โอโซน?

โอโซนได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ มากมายรวมถึงใช้ในด้านการอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการบำบัดและปรับสภาพน้ำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการใช้สารเคมีเพื่อฆ่าเชื้อโรคหรือปรับสภาพน้ำ อธิเช่น

Applicationconcentration O3 (ppm)Contact Time (minute)
REVERSE OSMOSIS WATER0.3 – 0.55
DRINKING WATER1.0 – 2.05 – 10
POOL0.3 – 0.71
SEAFOOD WASH0.1 – 0.151 – 2
FRUIT & VEGETABLE WASH0.2 – 0.41 – 5
HYDROPONICS0.1 – 0.22 – 5
COOLING TOWER0.2 – 0.52
PRE-SURGICAL WASH3 – 53 – 5