Menu
คุณกำลังพบกับปัญหากวนใจเหล่านี้อยู่หรือเปล่า?
- ค่าใช้จ่ายจากการใช้สารเคมีสูงแถมมีตะกรัน
- ต้องดูแลเรื่องการเติมสารเคมีและการจัดเก็บ
- ระบบทำความเย็นได้ไม่ทันเนื่องจากการระบายความร้อนไม่ดี เพราะตะกรันในระบบน้ำหล่อเย็น
- High side pressure สูงเนื่องจากปัญหาตะกรันเกาะท่อ Condenser
- น้ำระบายความร้อนของเครื่องจักรมีอุณหภูมิสูงระบายความร้อนไม่ทัน ส่งผลให้ Productivity ในการผลิตต่ำลง
- ความเข้มข้นของสารละลายในน้ำสูง
- เสียแรงงานและเวลาในการเติมสารเคมีและการจัดหา
- เครื่องจักรสูญเสียประสิทธิภาพเมื่อมีตะกรัน
- เสียค่าซ่อมบำรุงและเวลาในการหยุดระบบเพื่อล้างตะกรัน
- เกิดการกัดกร่อนของโลหะในระบบคูลลิ่ง
- เชื้อโรคและแบคทีเรียในน้ำหล่อเย็น
สนิมกัดกร่อน
ตะกรัน หินปูน
ตะใคร่น้ำ
ล้างทำความสะอาด
เปลี่ยนน้ำใน Cooling
แยงท่อ Condenser
สาเหตุของปัญหาในระบบน้ำหล่อเย็น
1. Mineral scale
Higher dissolved mineral content, i.e. Ca2+, Mg2+ hardness, and carbonate alkalinity lead to an increased formation of scale
Crystallization of CaCO3 scale
2HCO3– | –> <– | CO32- + CO2 + H2O |
Ca2+ + CO32- | –> <– | CaCO3(s) |
Ca2+ + 2HCO3– | –> <– | CaCO3(s) + CO2 + H2O |
Common scales in cooling tower
- Calcium carbonate (CaCO3)
- Calcium sulphate (CaSO4·xH2O)
- Calcium phosphate (Ca3PO4)
- Magnesium carbonate (MgCO3)
- Silicates
2. Bio-matrix
- Biofouling + Mineral scale
- Biofilm acts like a binder, cementing the mineral micro-crystals to the surfaces of the cooling tower system
Heterogeneous nucleation
Nanoparticles of crystalline CaCO3 trapped inside a matrix of extracellular polymeric substances (EPS) fibers (marked by arrows)
Biological mineral deposition on biofilms
- Biofilm acts like a binder, cementing the mineral micro-crystals to the surfaces of the cooling tower system, called Bio-matrix
- Amplification of scale deposition, corrosion, and fouling
โอโซนทำอะไรในหอผึ่งเย็น (Cooling Tower)
ด้วยคุณสมบัติที่มีปฏิกิริยาออกซิไดซ์ที่มีความรุนแรงสูง แต่ปราศจากสารตกค้างเราจึงเอาโอโซนมาใช้ประโยชน์ดังนี้
- ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ โอโซนจะทำลายผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
- ตะกรัน โอโซนทำปฏิกิริยาในกลุ่มเกลือแคลเซียมและแมกนีเซียม ทำให้ไม่สามารถตกผลึกเป็นตะกรันในคูลลิ่งทาวเวอร์ได้
- กัดกร่อน โอโซนไม่ทำให้เกิดการกัดกร่อนในระบบคูลลิ่งทาวเวอร์
- น้ำใสได้มากกว่า โอนโซนสามารถลดความเข้มข้นของน้ำได้ จึงทำให้ประหยัดน้ำลดการโบรดาวน์ลงได้ 50%
- ประหยัดแรงงานและเวลา ในการเติมสารเคมีและจัดหา
- เครื่องจักรไม่ต้องสูญเสียพลังงาน จากการสูญเสียประสิทธิภาพเมื่อเกิดมีตะกรันเพราะโอโซนสามารถควบคุมและกำจัดไม่ให้มีตะกรัน ตะใคร่น้ำได้
- ประหยัดค่าซ่อมบำรุงและเวลา ในการหยุดระบบเพื่อล้างตะกรัน
- รักษาสิ่งแวดล้อม น้ำที่โบรดาวน์จะไม่มีสารเคมี หรือมีน้อยมาก
- ลีจิโอเนลลา โอโซนสามารถกำจัดแบคทีเรียลีจิโอเนลลาที่เกิดในคูลลิ่งทาวเวอร์ได้
ผลของการใช้ INGREEN OZONE
ผลของโอโซนต่อตะกรันที่เกิดจาก
คาร์บอลิก + แคลเซียม (CaCo3)
Ca2+ + HCO3 = CaCO3
Ca2+ + HCO3 O3+ | = Ca2 + H2O |
O3+ + H2O = (. OH)2
CaCO3 + (. OH)2 = CaO + CO2
ลูกค้าของเรา
ปรึกษาปัญหาโอโซนสำหรับ Cooling Tower ฟรี!
0624262926, 0877825145 หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมผ่านไลน์แอด @innogreensolutions Email: yada@masterkool.com, chatchai@masterkool.com